ลูกจ้างในประเทศออสเตรเลียนั ้น มีสิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองจากนายจ้าง ซึ่งจะรวมไปถึง ค่าจ้างขั ้นต ่า, สิทธิพื ้นฐานการ
จ้างงานของออสเตรเลีย ซึ่งมีสิทธิพื ้นฐาน 10 ประการ ดังนี ้
1. ชั่วโมงการท างานสูงสุดของพนักงาน Full-time อยู่ที่ 38 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ถ้าในกรณีเกิน 38 ชั่วโมงนั ้น ต้องมี
เหตุผลที่จ าเป็นและจ านวนชั่วโมงที่เกินนั ้นต้อง “reasonable“
2. สิทธิที่จะขอนายจ้างเพื่อท างานแบบ “Flexible (อาจไม่ได้เป็นตามตารางเวลาที่ก ากนดตายตัว)” แต่ไม่ได้
หมายความว่านายจ้างจะต้องอนุมัติการร้องขอจากลูกจ้าง
3. สิทธิในการขอลาในกรณีเลี ้ยงดูบุตร Parental Leave) ซึ่งสามารถลาได้ 12 เดือน (แบบไม่จ่ายเงินชดเชย) และ
สามารถที่จะขอต่อเพิ่มเติมอีก 12 เดือน (ซึ่งจะไม่ได้รับค่าชดเชย)
4. ลาหยุดประจ าปี (จ่ายค่าชดเชย) เป็นระยะเวลาไม่ต ่ากว่า 4 สัปดาห์ (ในกรณีที่ท างาน part-time จะค านวณ
ตามเวลาชั่วโมงที่ท างานต่อสัปดาห์
5. ลาป่ วย (ได้ค่าชดเชย) ไม่ต ่ากว่า 10 วันต่อปี, ลาในกรณีที่สมาชิกครอบครัวเสียชีวิต ได้ไม่ต ่ากว่า 2 วันต่อปี (ได้
ค่าชดเชย) และสามารถลาในกรณีที่ต้องดูแลคนในครอบครัว ได้ไม่ต ่ากว่า 2 วัน (ไม่ได้รับค่าชดเชย)
6. ได้รับค่าใช้จ่ายชดชเยในกรณีที่ต้องขาดงานเพราะมีค าสั่งให้เป็นคณะลูกขุน (Jury Service)
7. Long Service Leave สามารถได้รับการลาหยุดเพิ่มเติม (ได้รับค่าชดเชย) ในกรณีที่ท างานให้กับนางจ้างมานาน
ตัวอย่างเช่น ในกรณีที่ท างานมากกว่า 5 ปี หรืแ 10 ปี เป็นต้น
8. สิทธิในการไม่ต้องท างานในวันหยุดราชการและได้รับค่าชดเชยในอัตราปรกติ
9. ได้รับการแจ้งล่วงหน้าจากนายจ้างในกรณีเลิกว่าจ้าง
10. สิทธิที่จะต้องได้รับข้อมูล Fair Work Information Statement ในกรณีที่เป็นพนักงานใหม่
สิทธิที่กล่าวข้างต้นนั ้น เป็นสิทธิของพนักงานประจ า Permanent เท่านั ้น ส่วนพนักงานชั่วคราว (Casual) จะได้รับสิทธิแค่
เพียงบางส่วนเท่านั ้น สิทธิพื ้นฐานข้างต้น นางจ้างและลูกจ้างสามารถที่จะของรายละเอียดได้ที่
www.fairwork.gov.au/NES
ค่าจ้างขั้นต ่าของออสเตรเลีย
โดยปรกติแล้ว ค่าจ้างขั ้นต ่าของออสเตรเลียจะมีการก าหนดอยู่ใน Modern Award (ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงตาม
ลักษณะสาขาอาชีพ เช่น ค่าแรงขั ้นต ่าของผู้ที่ท างานในสายงานโรงแรม ร้านอาหาร จะระบุข้อมูลค่าแรงขั ้นต ่าของแต่ละ
ระดับของสายงาน ซึ่งสามารถหาข้อมูลได้จาก Modern Award Restaurant/ Hospitality Industry 2010 ในกรณีที่
ค่าจ้างขั ้นต ่าไม่ได้ระบุไว้ใน Modern Award อาทิเช่น ทนายความ เป็นต้น ค่าจ้างขั ้นต ่ามาตรฐานของออสเตรเลียได้ระบุ
ไว้ว่า นายจ้างไม่สามารถจ่ายค่าจ้างแก่พนักงาน ต ่ากว่า $18.93 ต่อชั่วโมง (ในกรณีพนักงานประจ าอายุ 21 ปีขึ ้นไป) หรือ
$23.66 ต่อชั่วโมง ส าหรับพนักงานชั่วคราว อายุ21 ปีขั ้นไป (มีผลตั ้งแต่ 1 กรกฏาคม 2018)
Modern Award ของออสเตรเลีย ได้ครอบคลุมถึง 122 สาขาวิชาชีพ ซึ่งในแต่ละสาขาวิชาชีพนั ้น ได้ระบุรายละเอียด
แตกต่างกันไป ตัวอย่างเช่น ในกรณีที่ลูกจ้างชั่วคราวต าแหน่ง Cook (Level 3) นายจ้างจะต้องจ่ายค่าแรงขั ้นต ่าอยู่ที่
$26.14 ต่อชั่วโมง ในกรณีที่ท างานวันจันทร์ถึงศุกร์ $31.37 ต่อชั่วโมงในกรณีที่ลูกจ้างท างานวันเสาร์ หรือ $36.59 ต่อ
ชั่วโมงในกรณีที่ท างานวันอาทิตย์ เป็นต้น ดังนั ้นเพื่อให้นายจ้างไม่มีปัญหากับหน่วยงานของ Fair Work เราจะแนะน าให้
นายจ้างตรวจสอบค่าจ้างที่ระบุไว้ใน Modern Award รวมทั ้งเช็คดูด้วยว่า ลูกจ้างมีหน้าที่ในการท างานเช่นไร และใน
ต าแหน่งและระดับใด ที่สอดคล้องกับ Modern Award ในกรณีที่มีการตรวจสอบว่านายจ้างมีการจ่ายเงินไม่เป็นธรรม
ทางหน่วยงาน Fair Work สามารถปรับได้สูงถึง $12,600 ส าหรับบุคคลธรรมดา และ/ หรือ $63,000 ส าหรับบริษัท ได้
นายจ้างและลูกจ้างสามารถเช็ค Modern Award ได้ที่ www.fairwork.gov.au/awards
นายจ้างจะต้องไม่ท าการใดๆที่ไม่เป็นธรรมต่อลูกจ้าง อาทิเช่น เปลี่ยนต าแหน่งหน้าที่โดยมีมีเหตุผล, ไล่ลูกจ้างออกในกรณี
ที่ลูกจ้างสมัครเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน หรือในกรณีที่ไม่เป็นธรรม เพราะสถานะภาพทางเพศ, เชื ้อชาติ หรือ ศาสนา เป็น
ต้น ในกรณีที่ลูกจ้างรู้สึกว่าถูกบังคับให้ออกจากงานอย่างไม่เป็นธรรม ลูกจ้างมีสิทธิที่จะขอให้ Fair Work ท าการ
ตรวจสอบโดยยื่นใบสมัครภายใน 21 วันหลังจากที่ถูกออกจากงาน
ทางทีมทนายความของเรามีประสบการณ์ช่วยเหลือผู้ประกอบกิจการของคนไทยที่ถูก Fair Work ตรวจสอบการจ้างงาน
ของพนักงาน โดยเฉพาะ ร้านอาหาร, ร้านนวด หรือ ร้านขายของช าของไทย ทางหน่วยงานของ Fair Work สามารถที่จะ
เข้ามาท าการตรวจสอบการท างานของพนักงาน (เพื่อดูว่าเป็นไปตามที่ก าหนดใน Modern Award) หรือสามารถเข้ามา
สัมภาษณ์ทั ้งนายจ้างและลูกจ้างหรือผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้จัดการร้าน, เพื่อนร่วมงานในร้าน เป็นต้น
เจ้าหน้าที่ของ Fair Work สามารถที่จะมีอ านาจในการขอข้อมูลการจ่ายเงินจากเจ้าของธุรกิจ โดยส่วนใหญ่แล้ว จะขอ
ตรวจสอบ payslip ย้อนหลัง, ตารางการท างานของลูกจ้างย้อนหลัง, การจ่ายเงินในกรณีที่ลูกจ้างลาพักร้อน เป็นต้น
โดยปรกติแล้ว ในกรณีที่เกิดปัญหาการขัดแย้งระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ประการแรกเลย จะต้องตรวจสอบว่าข้อมูลที่
กล่าวไปข้างต้นนั ้น เรามีข้อมูลมากน้อยแค่ไหน น าข้อมูลทั ้งหมดที่มี ไปปรึกษาผู้รู้ หรือทนายความเพื่อขอความช่วยเหลือ
หรือค าแนะน า หรือติดต่อกับทาง Fair Work ในกรณีที่ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม
ที ่มา: Fair Work Ombudsman / Fair Work Commission
ศุภชัย (ก่อ) โอส่าห์กิจ
International Lawyers Co-operative (ILC)