การจดทะเบียนบริษัทที่ออสเตรเลียสามารถทำได้ง่ายภายในระยะเวลาอันสั ้ โดยสามารถจดทะเบียนได้ด้วยตนเอง โดย
ลงทะเบียนผ่าน ASIC (Australian Securities & Investment Commission) หรือผ่านทางนักบัญชีหรือทางเวบไซด์ที่
ให้บริการในการจัดตั ้งบริษัท แต่มีไม่กี่ท่านที่ทราบข้อมูลเกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับการจัดตั ้งบริษัท หน้าที่และความ
รับผิดชอบทางกฏหมาย ในกรณีที่เป็นเจ้าของบริษัท, ผู้ถือหุ้น, ผู้บริหาร หรือแม้กระทั่งพนักงานของบริษัท รวมทั ้ง
ผลกระทบที่ได้รับในกรณีที่บริษัทหรือเจ้าของบริษัทโดนฟ้องล้มละลาย บทความนี ้จะน าเสนอข้อควรรู้เบื ้องต้นก่อนและ
หลังการจดทะเบียนบริษัท โดยอ้างอิงตามข้อกฏหมายบริษัทของออสเตรเลีย หรือที่เรียกว่า Corporations Act 2001 (Cth)

ข้อมูลการจดทะเบียนบริษัท สามารถหารายละเอียดเพิ่มเติม ขั ้นตอนในการจดทะเบียนได้ที่ https://asic.gov.au/for-
business/registering-a-company/

เมื่อมีการจัดตั ้งบริษัทอย่างถูกต้องตามกฏหมาย โดยขึ ้นทะเบียนกับทาง ASIC เรียบร้อยแล้วนั ้น บริษัทจะมีอ านาจทาง
กฏหมายทั ้งในฐานะส่วนบุคคล (individual) หรือทั ้งในรูปของบริษัท (corporate) ยกตัวอย่างในมาตรา 124 ของ
กฏหมายบริษัทระบุไว้ว่า บริษัทสามารถที่จะแจกจ่ายทรัพย์สินของบริษัท แก่สมาชิกบริษัท หรือ มีอ านาจที่จะยกเลิกหุ้น
ของบริษัทได้ เป็นต้น ดังนั ้น เจ้าของบริษัท, ผู้จัดการ หรือพนักงาน บริษัทอาจจะมีสถานะ และอ านาจหน้าที่ทางกฏหมาย
แตกต่างกันในกรณีที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ยกตัวอย่างเช่น ในกรณีที่เกิดการบาดเจ็บของพนักงานจากการท างานและมีการ
ฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายกัน หน้าที่ความรับผิดชอบความเสียหายระหว่างบริษัท และผู้บริหารบริษัท (Director) มีความ
แตกต่างกัน

ในกรณีการท าธุรกรรมของบริษัท ตัวอย่างเช่น การซื ้อขายอสังหาริมทรพย์ หรือธุรกิจโดยใข้นามบริษัท สัญญาการท า
ธุรกรรมจะถูกต้องตามกฏหมาย ในกรณีที่เอกสารได้รับการเซ็นต์รับรองและลงชื่อ โดย Director อย่างน้อยสองคน หรือ
Director หนึ่งคน กับเลขานุการของบริษัท (Secretary) หรือในกรณีที่บริษัทมีแค่ ผู้บริหารเพียงคนเดียว และต าแหน่ง
Director กับ Secretary เป็นคนเดียวกัน สามารถที่จะเซ็นต์เอกสารเพียงคนเดียวได้ อีกทั ้งมาตรา 127 ของกฏหมาย

บริษัทระบุอย่างชัดเจนว่า ถ้าธุรกรรมของบริษัทไม่ได้ท าอย่างถูกต้อง ข้อสัญญาที่ท าไว้อาจจะเป็นโมฆะได้ และไม่มีผลทาง
กฏหมายแต่อย่างใด ยกตัวอย่างเช่น ในกรณีที่มีการท าสัญญาซื ้อขายระหว่างบริษัท เอ เพื่อซื ้อวัตถุดิบ และอุปกรณ์จาก
บริษัท บี โดยมีการตกลงที่ บริษัทเอ ผ่อนจ่ายเงิน บริษัทบี เป็นงวดๆ หลังจากได้รับของแล้ว แต่เอกสารการซื ้อขายมีแค่
ลายเซ็นต์ของ Director กับพนักงานของบริษัท ซึ่งไม่ได้มีอ านาจการเซ็นต์สัญญาทางกฏหมาย (ในกรณี บริษัทมี
Director มากกว่าหนึ่งคน) บริษัท บี อาจจะไม่สามารถที่จะฟ้องร้องให้บริษัทเอ จ่ายเงินในกรณีบริษัท เอ ผิดสัญญาได้

กฏหมายของออสเตรเลียยังระบุหน้าที่ของ Director ของบริษัทไว้ในหลายมาตรา เพื่อที่จะครอบคลุมบทบาทหน้าที่เพื่อ
ไม่ให้มีอ านาจเกินขอบเขตและลดความเสี่ยงที่จะท าให้บริษัทได้รับความเสียหายเพราะการกระท าของ Director บทความ
ในตอนนี ้จะกล่าวถึงมาตรา 180 ที่ระบุไว้ว่า Director ของบริษัทมีหน้าที่ดูแลและสอบทาน ตรวจสอบการด าเนินการของ
บริษัท (Care and Diligence) โดย หน้าที่ทางกฏหมายภายใต้มาตรานี ้ยังได้รวมไปถึงพนักงานของบริษัท ไม่ใช่เฉพาะแค่
Director ของบริษัท
ภายใต้มาตรา 180 ระบุว่า ผู้บริหาร (Director) และพนักงาน (Officers) สามารถตัดสินใจในธุรกรรมของบริษัทได้เมื่อ
เห็นว่าการตัดสินใจนั ้นเป็นประโยชน์ต่อบริษัท โดยไม่ได้เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของตนเอง โดยปรกติแล้วการตัดสินใจ
ทางธุรกิจมีความเสี่ยง โดยทางกฏหมายของออสเตรเลีย ไม่ต้องการที่จะปิดกั ้นการตัดสินใจของผู้บริหารหรือพนักงานของ
บริษัท แต่เพื่อป้องกันการใช้อ านาจที่ไม่ถูกต้อง ศาลจะใช้อ านาจในการพิจารณาในกรณีที่ ผู้บริหารหรือพนักงานกระท า
ความผิด ขึ ้นอยู่กับหลายสถานะการณ์ อาทิ เช่น ขนาดขององกรณ์ หรือประเภทของธุรกิจ ศาลยังพิจารณาและสามารถ
เปรียบเทีบได้ว่า โดยปรกติแล้วผู้ที่มีความรู้ ความสามารถเท่าเทียมกับผู้ถูกกล่าวหา ในกรณีที่อยู่ในสถานการณ์เดียวกัน
จะตัดสินใจอย่างไร
ในกรณีส่วนใหญ่ที่ผู้บริหาร และพนักงานบริษัทถูกฟ้องร้องในกรณีที่ท าให้บริษัทได้รับความเสียหาย มีดังนี ้
• ไม่มีการตรวจสอบสถานะทางการเงินของบริษัทอย่างรอบคอบ หรือแจ้งต่อบอร์ดผู้ถือหุ้นให้รับทราบ (ส่วนใหญ่
ในกรณีที่ท าให้บริษัทล้มละลาย)
• ท าธุรกรรมที่ไม่ได้มีผลประโยชน์ต่อบริษัท แต่มีผลประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว หรือบุคคลที่สาม

• ไม่มีการตรวจสอบว่าบริษัทได้ละเมิดข้อกฏหมาย ท าให้บริษัทได้รับความเสียหาย เช่น การไม่ด าเนินการ
ตรวจสอบการขอ license เพื่อเปิดขายเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ แต่เปิดขายโดยไม่ได้รับอนุญาต และท าความ
เสียหายต่อบริษัท
• ประเมินผลประกอบการ โดยพยากรณ์รายได้และก าไรจากการประกอบการอย่างไม่มีเหตุผล
จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นได้ว่าเวลาจดทะเบียนบริษัทเพื่อจะประกอบธุรกิจไม่ใช่เรื่องยาก และใช้เวลาน้อย แต่กรณีที่เรา
เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัท โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เป็นผู้บริหาร (Director) และแม้กระทั่งพนักงาน (Officer) ภายใต้
กฏหมายบริษัทของออสเตรเลีย ระบุถึงหน้าที่และความรับผิดชอบที่จะต้องปฏิบัติตาม ซึ่งหลายท่านอาจจะยังไม่ทราบว่า
การแค่ท่านลงชื่อเป็นผู้บริหารของบริษัท ท่านอาจจะได้รับบทลงโทษในกรณีที่ท่านอาจจะไม่ทราบมาก่อนก็เป็นได้ ซึ่ง
บทลงโทษในกรณีที่รุนแรง อาจจะต้องเสียค่าปรับเป็นจ านวนเงินถึง $200,000 และยังจะต้องชดใช้ค่าเสียหายแก่บริษัท
หรืออาจจะไม่อนุญาติให้เป็นผู้บริหารบริษัทปัจจุบันและอนาคต ตามเวลาที่ศาลเห็นสมควรอีกด้วย
ดังนั ้น ก่อนที่จะตัดสินใจจดทะเบียนบริษัท และมีชื่อเป็นเจ้าของกิจการ, ผู้บริหาร ท่านควรตรวจสอบว่าในทางกฏหมายที่
ออสเตรเลีย มีกฏระเบียบอย่างไรในการที่จะด ารงต าแหน่งนี ้ บทความนี ้กล่าวเฉพาะแค่มาตรา 180 ของกฏหมายบริษัท
ของออสเตรเลีย ยังมีอีกหลายมาตราในกฏหมายฉบับนี ้ที่ยังเกี่ยวโยงถึง หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหาร ซึ่งทางเรา
จะน าเสนอในโอกาสต่อไป

ที ่มา: Corporations Act 2001 (Cth)
Australian Securities & Investment Commission (ASIC)

ศุภชัย (ก่อ) โอส่าห์กิจ
International Lawyers Co-operative (ILC)

การจดทะเบียนบริษัทที่ออสเตรเลียสามารถท าได้ง่ายภายในระยะเวลาอันสั ้น โดยสามารถจดทะเบียนได้ด้วยตนเอง โดย
ลงทะเบียนผ่าน ASIC (Australian Securities & Investment Commission) หรือผ่านทางนักบัญชีหรือทางเวบไซด์ที่
ให้บริการในการจัดตั ้งบริษัท แต่มีไม่กี่ท่านที่ทราบข้อมูลเกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับการจัดตั ้งบริษัท หน้าที่และความ
รับผิดชอบทางกฏหมาย ในกรณีที่เป็นเจ้าของบริษัท, ผู้ถือหุ้น, ผู้บริหาร หรือแม้กระทั่งพนักงานของบริษัท รวมทั ้ง
ผลกระทบที่ได้รับในกรณีที่บริษัทหรือเจ้าของบริษัทโดนฟ้องล้มละลาย บทความนี ้จะน าเสนอข้อควรรู้เบื ้องต้นก่อนและ
หลังการจดทะเบียนบริษัท โดยอ้างอิงตามข้อกฏหมายบริษัทของออสเตรเลีย หรือที่เรียกว่า Corporations Act 2001 (Cth)

ข้อมูลการจดทะเบียนบริษัท สามารถหารายละเอียดเพิ่มเติม ขั ้นตอนในการจดทะเบียนได้ที่ https://asic.gov.au/for-
business/registering-a-company/

เมื่อมีการจัดตั ้งบริษัทอย่างถูกต้องตามกฏหมาย โดยขึ ้นทะเบียนกับทาง ASIC เรียบร้อยแล้วนั ้น บริษัทจะมีอ านาจทาง
กฏหมายทั ้งในฐานะส่วนบุคคล (individual) หรือทั ้งในรูปของบริษัท (corporate) ยกตัวอย่างในมาตรา 124 ของ
กฏหมายบริษัทระบุไว้ว่า บริษัทสามารถที่จะแจกจ่ายทรัพย์สินของบริษัท แก่สมาชิกบริษัท หรือ มีอ านาจที่จะยกเลิกหุ้น
ของบริษัทได้ เป็นต้น ดังนั ้น เจ้าของบริษัท, ผู้จัดการ หรือพนักงาน บริษัทอาจจะมีสถานะ และอ านาจหน้าที่ทางกฏหมาย
แตกต่างกันในกรณีที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ยกตัวอย่างเช่น ในกรณีที่เกิดการบาดเจ็บของพนักงานจากการท างานและมีการ
ฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายกัน หน้าที่ความรับผิดชอบความเสียหายระหว่างบริษัท และผู้บริหารบริษัท (Director) มีความ
แตกต่างกัน

ในกรณีการท าธุรกรรมของบริษัท ตัวอย่างเช่น การซื ้อขายอสังหาริมทรพย์ หรือธุรกิจโดยใข้นามบริษัท สัญญาการท า
ธุรกรรมจะถูกต้องตามกฏหมาย ในกรณีที่เอกสารได้รับการเซ็นต์รับรองและลงชื่อ โดย Director อย่างน้อยสองคน หรือ
Director หนึ่งคน กับเลขานุการของบริษัท (Secretary) หรือในกรณีที่บริษัทมีแค่ ผู้บริหารเพียงคนเดียว และต าแหน่ง
Director กับ Secretary เป็นคนเดียวกัน สามารถที่จะเซ็นต์เอกสารเพียงคนเดียวได้ อีกทั ้งมาตรา 127 ของกฏหมาย

บริษัทระบุอย่างชัดเจนว่า ถ้าธุรกรรมของบริษัทไม่ได้ท าอย่างถูกต้อง ข้อสัญญาที่ท าไว้อาจจะเป็นโมฆะได้ และไม่มีผลทาง
กฏหมายแต่อย่างใด ยกตัวอย่างเช่น ในกรณีที่มีการท าสัญญาซื ้อขายระหว่างบริษัท เอ เพื่อซื ้อวัตถุดิบ และอุปกรณ์จาก
บริษัท บี โดยมีการตกลงที่ บริษัทเอ ผ่อนจ่ายเงิน บริษัทบี เป็นงวดๆ หลังจากได้รับของแล้ว แต่เอกสารการซื ้อขายมีแค่
ลายเซ็นต์ของ Director กับพนักงานของบริษัท ซึ่งไม่ได้มีอ านาจการเซ็นต์สัญญาทางกฏหมาย (ในกรณี บริษัทมี
Director มากกว่าหนึ่งคน) บริษัท บี อาจจะไม่สามารถที่จะฟ้องร้องให้บริษัทเอ จ่ายเงินในกรณีบริษัท เอ ผิดสัญญาได้

กฏหมายของออสเตรเลียยังระบุหน้าที่ของ Director ของบริษัทไว้ในหลายมาตรา เพื่อที่จะครอบคลุมบทบาทหน้าที่เพื่อ
ไม่ให้มีอ านาจเกินขอบเขตและลดความเสี่ยงที่จะท าให้บริษัทได้รับความเสียหายเพราะการกระท าของ Director บทความ
ในตอนนี ้จะกล่าวถึงมาตรา 180 ที่ระบุไว้ว่า Director ของบริษัทมีหน้าที่ดูแลและสอบทาน ตรวจสอบการด าเนินการของ
บริษัท (Care and Diligence) โดย หน้าที่ทางกฏหมายภายใต้มาตรานี ้ยังได้รวมไปถึงพนักงานของบริษัท ไม่ใช่เฉพาะแค่
Director ของบริษัท
ภายใต้มาตรา 180 ระบุว่า ผู้บริหาร (Director) และพนักงาน (Officers) สามารถตัดสินใจในธุรกรรมของบริษัทได้เมื่อ
เห็นว่าการตัดสินใจนั ้นเป็นประโยชน์ต่อบริษัท โดยไม่ได้เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของตนเอง โดยปรกติแล้วการตัดสินใจ
ทางธุรกิจมีความเสี่ยง โดยทางกฏหมายของออสเตรเลีย ไม่ต้องการที่จะปิดกั ้นการตัดสินใจของผู้บริหารหรือพนักงานของ
บริษัท แต่เพื่อป้องกันการใช้อ านาจที่ไม่ถูกต้อง ศาลจะใช้อ านาจในการพิจารณาในกรณีที่ ผู้บริหารหรือพนักงานกระท า
ความผิด ขึ ้นอยู่กับหลายสถานะการณ์ อาทิ เช่น ขนาดขององกรณ์ หรือประเภทของธุรกิจ ศาลยังพิจารณาและสามารถ
เปรียบเทีบได้ว่า โดยปรกติแล้วผู้ที่มีความรู้ ความสามารถเท่าเทียมกับผู้ถูกกล่าวหา ในกรณีที่อยู่ในสถานการณ์เดียวกัน
จะตัดสินใจอย่างไร
ในกรณีส่วนใหญ่ที่ผู้บริหาร และพนักงานบริษัทถูกฟ้องร้องในกรณีที่ท าให้บริษัทได้รับความเสียหาย มีดังนี ้
• ไม่มีการตรวจสอบสถานะทางการเงินของบริษัทอย่างรอบคอบ หรือแจ้งต่อบอร์ดผู้ถือหุ้นให้รับทราบ (ส่วนใหญ่
ในกรณีที่ท าให้บริษัทล้มละลาย)
• ท าธุรกรรมที่ไม่ได้มีผลประโยชน์ต่อบริษัท แต่มีผลประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว หรือบุคคลที่สาม

• ไม่มีการตรวจสอบว่าบริษัทได้ละเมิดข้อกฏหมาย ท าให้บริษัทได้รับความเสียหาย เช่น การไม่ด าเนินการ
ตรวจสอบการขอ license เพื่อเปิดขายเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ แต่เปิดขายโดยไม่ได้รับอนุญาต และท าความ
เสียหายต่อบริษัท
• ประเมินผลประกอบการ โดยพยากรณ์รายได้และก าไรจากการประกอบการอย่างไม่มีเหตุผล
จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นได้ว่าเวลาจดทะเบียนบริษัทเพื่อจะประกอบธุรกิจไม่ใช่เรื่องยาก และใช้เวลาน้อย แต่กรณีที่เรา
เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัท โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เป็นผู้บริหาร (Director) และแม้กระทั่งพนักงาน (Officer) ภายใต้
กฏหมายบริษัทของออสเตรเลีย ระบุถึงหน้าที่และความรับผิดชอบที่จะต้องปฏิบัติตาม ซึ่งหลายท่านอาจจะยังไม่ทราบว่า
การแค่ท่านลงชื่อเป็นผู้บริหารของบริษัท ท่านอาจจะได้รับบทลงโทษในกรณีที่ท่านอาจจะไม่ทราบมาก่อนก็เป็นได้ ซึ่ง
บทลงโทษในกรณีที่รุนแรง อาจจะต้องเสียค่าปรับเป็นจ านวนเงินถึง $200,000 และยังจะต้องชดใช้ค่าเสียหายแก่บริษัท
หรืออาจจะไม่อนุญาติให้เป็นผู้บริหารบริษัทปัจจุบันและอนาคต ตามเวลาที่ศาลเห็นสมควรอีกด้วย
ดังนั ้น ก่อนที่จะตัดสินใจจดทะเบียนบริษัท และมีชื่อเป็นเจ้าของกิจการ, ผู้บริหาร ท่านควรตรวจสอบว่าในทางกฏหมายที่
ออสเตรเลีย มีกฏระเบียบอย่างไรในการที่จะด ารงต าแหน่งนี ้ บทความนี ้กล่าวเฉพาะแค่มาตรา 180 ของกฏหมายบริษัท
ของออสเตรเลีย ยังมีอีกหลายมาตราในกฏหมายฉบับนี ้ที่ยังเกี่ยวโยงถึง หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหาร ซึ่งทางเรา
จะน าเสนอในโอกาสต่อไป

ที ่มา: Corporations Act 2001 (Cth)
Australian Securities & Investment Commission (ASIC)

ศุภชัย (ก่อ) โอส่าห์กิจ
International Lawyers Co-operative (ILC)